นิวเคลียสของไฮโดรเจนและนิวเคลียสของฮีเลียมเกิดพร้อมกันหรือไม่ อย่างไร?

หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน มีผลให้โปรตรตอนและนิวตรอนเกิดการรวมตัวเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม ในช่วงแรกๆนี้เอกภพขยายตัวอย่างเร็วมาก หลังบิกแบง 300,000ปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอนเข้ามาอยู่ในวงโคจร เกิดเป็นอะตอมไฮโดรเจนและฮีเลียมตามลำดับ
นิวเคลียสมีประจุไฟฟ้าบวก ทำให้มีแรงผลักกับนิวเคลียสอื่น แบบเดียวกับแรงผลักของแม่เหล็ก ถ้าเอาขั้วเดียวกัน มาอยู่ใกล้กัน การเกิดปฏิกิริยาฟิวชันปกติ (High temperature fusion) ใช้อุณหภูมิ ในระดับล้านองศา และความดันที่สูงมาก เพื่อให้อยู่ในสภาวะ ที่เหนือกว่าแรงผลัก ระหว่างนิวเคลียส ทำให้รวมไฮโดรเจนเข้าด้วยกันเป็นฮีเลียม อะตอมของฮีเลียมปกติจะมี 2 โปรตอนกับ 2 นิวตรอน จึงสามารถหลอมรวมไฮโดรเจน ให้เป็นฮีเลียม ได้หลายแบบ และอาจจะทำเป็นฮีเลียมปกติ หรือทำเป็นไอโซโทปอื่น เช่น ฮีเลียมที่มี 1 นิวตรอน

Leave a Reply

Your email address will not be published.